Page 12 - News Wave Journal - August 2021
P. 12

 วัคซีนสัญชาติ ไทย ไมแ่ พช้ าตใิ ด...ในโลก
BIG STORY
วัคซีนโควิด HXP - GPO Vac
VACCINE
COVID-19
ด้าน ดร.ภญ.พรทิพย์ วิรัชวงศ์ ผู้อานวยการสานักบริหาร ยทุ ธศาสตร์ องคก์ ารเภสชั กรรม กลา่ ววา่ ปจั จบุ นั วคั ซนี เชอื้ ตายไวรสั เวกเตอร์ ขององค์การเภสัชฯ ได้ผ่านการทดลองในมนุษย์เฟสที่ 1 เปน็ ที่เรียบร้อยแล้ว จากจา นวนอาสาสมคั รทงั้ หมด 210 คน ในอายุ 18-60 ปี โดยผลการทดลอง พบมปี ระสทิ ธภิ าพดี เปน็ ทนี่ า่ พอใจ สามารถกระตนุ้ ภมู คิ มุ้ กนั และยบั ยงั้ เชอื้ ทั้งสายพันธุ์ดั้งเดิม (อู่ฮั่น) และเดลต้าได้ อีกทั้งยังมีความปลอดภัยสูง สะท้อนจากผลข้างเคียงที่อยู่ระดับเล็กน้อย เช่น ปวดบวมบริเวณฉีด ปวดหัว ปวดกล้ามเน้ือ เป็นต้น ซึ่งจะเป็นเพียงระยะหนึ่งก่อนที่อาการ จะค่อยๆ หายไปเอง อย่างไรก็ดี จากนี้ไปจะเดินหน้าเข้าสู่การทดลองใน มนุษย์เฟสที่ 2 กับอาสาสมัครจา นวน 250 คน พร้อมทั้งได้ขยายฐานอายุ อาสาสมัครผู้ฉีดเป็น 18-75 ปี เพื่อให้วัคซีนรองรับกลุ่มผู้สูงอายุมากขึ้น สว่ นแผนในระยะถดั ไปจะขยายการทดลองมาสกู่ ลมุ่ เดก็ และหญงิ ตงั้ ครรภ์ เนื่องจากวัคซีนชนิดเช้ือตายนี้ นับว่าเป็นเทคโนโลยีที่มีมานานและมีความ ปลอดภัยสูง คาดว่าเฟสที่ 2 จะแล้วเสร็จภายในเดือนพฤศจิกายน 2564 สว่ นในระยะที่ 3 ตอ้ งทดลองกบั กลมุ่ คนใหม้ ากขน้ึ ในหลกั พนั คน แตจ่ ะเนน้ ดูการเปรียบเทียบประสิทธิผลกับวัคซีนชนิดอื่นและยี่ห้ออื่น ซ่ึงต้อง ปรึกษากับ อย. เพ่ิมเติมก่อน ทั้งนี้ คาดว่ากระบวนการทั้งหมด รวมไปถึง การย่ืนขอข้ึนทะเบียนกับ อย. ในภาวะฉุกเฉินจะเสร็จในปีหน้า และหาก สาเร็จจะเริ่มผลิตได้ในราวเดือนมิถุนายน 2565 โดยจะผลิตที่โรงงานของ องค์การเภสัชฯ ในทับกวาง อ.แก่งคอย จ.สระบุรี ช่วงแรกน่าจะมีกาลัง การผลิตต่อปีได้ถึง 20-30 ล้านโดส
วัคซีนโควิด ChulaCov19
ข้อมูลเพิ่มเติม
วัคซีนไทยจุฬาคอฟ19 ป้องกันโควิด เทียบเท่าไฟเซอร์
วคั ซนี โควดิ HXP - GPO Vac พฒั นาโดย คณะเวชศาสตรเ์ ขตรอ้ น มหาวิทยาลัยมหิดล และองค์การเภสัชกรรม ร่วมกันวิจัยพัฒนา ท้ังนี้ นพ.วิฑูรย์ ด่านวิบูลย์ ผู้อา นวยการองค์การเภสัชกรรม (อภ.) เปิดเผยว่า วัคซีนป้องกันโควิดท่ีพัฒนาโดยองค์การเภสัชฯ ภายใต้ช่ือ HXP-GPO Vac ได้เริ่มศึกษาวิจัยต้ังแต่เดือนมิถุนายน 2563 ผ่านความร่วมมือกับสถาบัน PATH ประเทศสหรฐั อเมรกิ า ซงึ่ ไดส้ ง่ หวั เชอ้ื ไวรสั ตงั้ ตน้ ทชี่ อื่ วา่ นวิ คาสเซลิ มาให้ โดยไวรสั ตวั ดงั กลา่ วจะกอ่ โรคในไก่ และจะถกู นา มาตดั แตง่ พนั ธกุ รรม ให้มีโปรตีนส่วนหนาม (Spike Protein) เหมือนไวรัสโควิด-19 จากนั้น จึงนาไปเพาะเล้ียงในไข่ไก่ เมื่อได้เชื้อมากพอจะทาให้เชื้อตาย จึงเรียกว่า เป็นเชื้อตายแบบไวรัสเวกเตอร์ ดังน้ัน เทคโนโลยีดังกล่าวได้มีชื่อว่า วัคซีน เช้ือตายไวรัสเวกเตอร์ ถือเป็นลูกผสมไม่ใช่เช้ือตายแบบธรรมดาทั่วไป
วัคซีนโควิด ChulaCov19 เป็นการพัฒนาวัคซีน mRNA โดยโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ สภากาชาดไทย และศูนย์วิจัยวัคซีน คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ร่วมกับ Prof.Drew Weissman มหาวิทยาลัยเพนซิลวาเนีย (คุณหมอนักวิทยาศาสตร์ ผู้คิดคนเทคโนโลยี mRNA) วัคซีน ChulaCov19 ผลิตโดยสร้างชิ้นส่วน ขนาดจิ๋วจากสารพันธุกรรมของเช้ือไวรัสโคโรนา (โดยไม่มีการใช้ตัวเชื้อ แตอ่ ยา่ งใด) ซงึ่ เมอื่ รา่ งกายไดร้ บั ชน้ิ สว่ นของสารพนั ธกุ รรมขนาดจวิ๋ นเี้ ขา้ ไป จ ะ ท า ก า ร ส ร า้ ง เ ป น็ โ ป ร ต นี ท เี ่ ป น็ ส ว่ น ป ม่ ุ ห น า ม ข อ ง ไ ว ร สั ข นึ ้ ( S p i k e P r o t e i n ) และกระตนุ้ ใหเ้ กดิ การสรา้ งภมู คิ มุ้ กนั ไวเตรยี มตอ่ สกู้ บั ไวรสั เมอื่ ไปสมั ผสั เชอ้ื เมื่อวัคซีน mRNA ทาหน้าท่ีให้ร่างกายสร้างโปรตีนเรียบร้อยแล้ว ภายใน ไม่กี่วัน mRNA น้ีจะถูกสลายไปโดยไม่มีการสะสมในร่างกายแต่อย่างใด
12 News Wave August 2021
ข้อมูลเพิ่มเติม
วัคซีน HXP-GPOVac เฟสแรก สร้างภูมิคุ้มกันได้ดี





















































































   10   11   12   13   14