Page 13 - News Wave Journal - August 2021
P. 13

 BIG STORY
ท่ีผ่านมาทางศูนย์วิจัยวัคซีน ได้ทาการทดลองในลิง และหนู พบว่า สามารถช่วยยับย้ังไม่ให้เชื้อไวรัสเข้าสู่กระแสเลือดและสามารถสร้าง ภูมิคุ้มกันได้ในระดับสูง จึงนามาสู่การผลิตและทดสอบทางคลินิกเฟสท่ี 1 ใหก้ บั อาสาสมคั รคนไทย พบวา่ เมอื่ อาสาสมคั รไดฉ้ ดี เขม็ ทสี่ องไปแลว้ 7 วนั ผลข้างเคียงอยู่ในข้ันเล็กน้อยถึงปานกลาง เช่น ปวดบริเวณท่ีฉีด เพลีย ไข้ หนาวสั่น แต่อาการจะดีขึ้นโดยเฉลี่ยภายใน 1-3 วัน และจากการทดสอบ พบวา่ ChulaCov19 สามารถกระตนุ้ ภมู คิ มุ้ กนั ชนดิ แอนตบ้ี อดไี้ ดส้ งู กระตนุ้ แอนตบี้ อดที้ ไี่ ดส้ งู มากในการยบั ยงั้ เชอ้ื สายพนั ธด์ุ งั้ เดมิ นอกจากนี้ สามารถ ยับย้ังเชื้อข้ามสายพันธุ์ได้ท้ัง 4 สายพันธุ์คือ Alpha, Beta, Gamma และ Delta ได้เกิน 80% พร้อมทั้ง ยังกระตุ้นภูมิคุ้มกันชนิด T-Cell ซ่ึงจะช่วย ขจดัและควบคมุเชอื้ทอี่ยใู่นเซลลข์องคนทต่ีดิเชอ้ืไดอ้กีดว้ยเพอ่ืหาปรมิาณ วัคซีน ChulaCov19 ที่มีประสิทธิภาพสูงสุด และกาลังเข้าสู่การทดสอบ ทางคลินิกเฟสท่ี 2 ในเดือนสิงหาคม 2564 เป็นต้นไป
จุดเด่นของวัคซีน ChulaCov19 คือ สามารถเก็บในอุณหภูมิตู้เย็น 2-8 องศาเซลเซียส ได้นานถึง 3 เดือน และเก็บในอุณหภูมิห้อง 25 องศา- เซลเซียส ได้นาน 2 สัปดาห์ ซึ่งทาให้การจัดเก็บรักษาง่ายกว่าวัคซีน
วัคซีนใบยา (Baiya SARS-CoV-2 VAX1) เป็นวัคซีนป้องกันโรค โควิด-19 ฝีมือนักวิจัยไทยจาก บริษัท ใบยาไฟโตฟาร์ม จากัด คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ซึ่งผลิตจากโปรตีนพืช ใบยาสูบที่เรียกว่า “โปรตีนซับยูนิตวัคซีน” เป็นเทคโนโลยีเดียวกันกับ ที่โรงงานอุตสาหกรรมยาหลายแห่งท่ัวโลกใช้ เช่น สหรัฐอเมริกา แคนาดา เยอรมัน เกาหลี ญี่ปุ่น เป็นต้น โดยผลิตวัคซีนตับอักเสบบีและวัคซีนมะเร็ง ปากมดลูกท่ีใช้กันอยู่ในปัจจุบัน
โควิด-19 ชนิด mRNA ยี่ห้ออ่ืนเป็นอย่างมาก อีกทั้ง วัคซีนชนิด mRNA สามารถผลิตได้เร็ว ไม่ต้องรอเพาะเลี้ยงเชื้อ สังเคราะห์ในหลอดทดลอง ไม่เกิน 4 สัปดาห์ ไม่ต้องใช้โรงงานขนาดใหญ่ และสามารถปรับแต่งวัคซีน ต้นแบบตามพันธุกรรมของเช้ือกลายพันธุ์ได้อย่างรวดเร็ว พร้อมการ ถ่ายทอดเทคโนโลยีให้กับบริษัท Bionet Bionet Asia เพื่อผลิตได้ทันที
ด้าน ศ.นพ.เกียรติ รักษ์รุ่งธรรม ผู้อานวยการบริหารโครงการ พัฒนาวัคซีนโควิด-19 ศูนย์วิจัยวัคซีน คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์- มหาวิทยาลัย กล่าวถึง การทดสอบทางคลินิกเฟสที่ 3 ท่ีจะดาเนินการ หรือไม่อย่างไรนั้น ขึ้นอยู่กับระเบียบของสานักงานคณะกรรมการอาหาร และยา (อย.) ซึ่งจะทราบผลภายในเดือนกันยายน 2564 หากว่าทาง อย. อนุญาตให้ขึ้นทะเบียนได้ในการทดสอบทางคลินิกระยะท่ี2(สาหรับใช้ ในกรณีฉุกเฉิน) เช่ือม่ันว่าภายในเดือนเมษายน 2565 ประเทศไทยจะมี วัคซีนชนิด mRNA ท่ีผลิตโดยคนไทยใช้ในการกระตุ้นเข็ม 3 อย่างแน่นอน
วัคซีนใบยา
สาหรับที่มาของวัคซีนใบยาเลือกใช้โปรตีนพืชจากใบยาสูบเป็น พันธุ์พื้นเมืองออสเตรเลีย (มีสารนิโคตินระดับต่ามาก) โดยกระบวนการ จะนาส่วนหน่ึงของไวรัสมาเป็นต้นแบบ และนามาผ่านกระบวนการส่งสาร พนั ธกุ รรมเขา้ ไปในพชื ทา ใหพ้ ชื สรา้ งโปรตนี ทเี่ ปน็ ชนิ้ สว่ นของไวรสั ได้ และ สกัดนาโปรตีนที่คล้ายไวรัสนั้นให้บริสุทธิ์ออกมาเพ่ือทาเป็นวัคซีน ช่ือว่า Baiya SARS-CoV-2 VAX1 ซึ่งได้นาไปทดสอบในหนูและลิง ผลการ ทดสอบเปน็ ทนี่ า่ พอใจ ไมม่ ผี ลขา้ งเคยี ง คา่ เอนไซมต์ บั ปกติ เมอื่ นา เปปไทด์ ไปกระตุ้นเซลล์ของลิง พบว่า มีการกระตุ้น T Cell ได้ดี และตอนน้ียัง ได้ปรับปรุงทดสอบกับ 4 สายพันธุ์ ได้แก่ อัลฟ่า เดลต้า เบต้า และแกรมม่า แล้ว ผลทดสอบในสัตว์ทดลองเบื้องต้น ก็ออกมาดีมากกว่าเดิม
วัคซีนใบยาจะเริ่มต้นทดสอบในมนุษย์เฟสท่ี 1 ช่วงต้นเดือน กันยายน 2564 หากทุกอย่างเป็นไปตามแผน คาดว่าในไตรมาส 3 ของ ปี 2565 จะสามารถผลติ วคั ซนี ป้องกนั โควิด-19 ฝีมอื คนไทยในประเทศเอง ได้มาก 1-5 ล้านโดสต่อเดือน หรือราว 60 ล้านโดสต่อปี
วัคซีนชนิดโปรตีนซับยูนิต เป็นวัคซีนที่เป็นส่วนประกอบของโปรตีนของไวรัส หรือที่เรียกกว่า Subunit Vaccine วัคซีนชนิดน้ีใช้เทคโนโลยีในการเพาะเลี้ยงเชื้อไวรัส แล้วก็สกัดเอาส่วนโปรตีน ท่ีเป็นส่วน หนามมาทาเป็นวัคซีน แล้วก็ฉีดให้ร่างกายเรา ให้ร่างกายเรารู้จักกับหนามของไวรัสโดยตรง เทคโนโลยีน้ี เปน็ เทคโนโลยที ใี่ชก้ นั มานานและกเ็ปน็ เทคโนโลยที ี่บรษิ ทั โนวาแวกซ์(Novavax)ใชใ้นการผลติ วคั ซนี โควดิ -19 โดยการตัดต่อสารพันธุกรรมไวรัสชนิดหนึ่ง เพื่อนาเข้าสู่เซลล์ของผีเสื้อกลางคืนจาพวก “มอธ” (Moth) แล้วสังเคราะห์โปรตีนข้ึนมา ซึ่งไวรัสที่ได้จากผีเสื้อกลางคืนจะแตกต่างจากไวรัสในแมลงอื่นๆ นั่นก็คือ มีความปลอดภัยและไม่ส่งผลกระทบใดๆ กับสัตว์มีกระดูกสันหลัง
August 2021 News Wave 13
























































































   11   12   13   14   15