Page 14 - News Wave Journal - August 2021
P. 14

 BIG STORY
วัคซีนโควิด-19 แบบพ่นจมูก
สานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) โดยศนู ยพ์ นั ธวุ ศิ วกรรมและเทคโนโลยชี วี ภาพแหง่ ชาติ (ไบโอเทค) ไดพ้ ฒั นา วคั ซนี ปอ้ งกนั โรคตดิ เชอ้ื ไวรสั โควดิ -2019แบบพน่ จมกู ชนดิ Adenovirus- Based และ Influenza-Based ซ่ึงผ่านการทดสอบการกระตุ้นภูมิคุ้มกัน ในหนูทดลองเป็นท่ีเรียบร้อยแล้ว พบว่ามีประสิทธิภาพต่อการคุ้มโรค ทเี่ กดิ ขนึ้ ซง่ึ ขอ้ มลู ทไ่ี ดจ้ ะผลกั ดนั ใหเ้ ปน็ วคั ซนี ตน้ แบบปอ้ งกนั โรคโควดิ -19 เพื่อนาไปทดสอบทางคลินิกในอาสาสมัครต่อไป
ดร.อนันต์ จงแก้ววัฒนา ผู้อานวยการกลุ่มวิจัยนวัตกรรมสุขภาพ สัตว์และการจัดการ ไบโอเทค สวทช. ให้ข้อมูลว่า ทีมวิจัยไวรัสวิทยาและ เซลล์เทคโนโลยี ไบโอเทค ได้ดาเนินงานวิจัยและพัฒนาวัคซีนต้าน โรคติดเชื้อโควิด-19 ตั้งแต่มีการเร่ิมระบาดในประเทศจีน ปัจจุบันทีมวิจัย สวทช. มีความคืบหน้าในการพัฒนาเป็นต้นแบบวัคซีนเป็นอย่างมาก ซึ่งผลักดันต้นแบบวัคซีนป้องกันโรคโควิด-19 แบบพ่นจมูก ออกมาได้ 2 ชนิด คือ วัคซีนชนิด Adenovirus ท่ีผ่านการทดลองในหนูแล้วไม่พบ ผลข้างเคียง โดยจะมีการร่วมมือกับบริษัท KinGen BioTech และ กาลังจะทดสอบวัคซีนน้ี ในอาสาสมัครมนุษย์ ในรูปแบบวัคซีนที่สร้างจาก ไวรัสสายพันธุ์เดลตา และ วัคซีนชนิด Influenza Virus ซึ่งก็มีผลลัพธ์ ทอี่ อกมาดดี ว้ ยเชน่ กนั และจะมกี ารยนื่ เอกสารตอ่ สา นกั งานคณะกรรมการ อาหารและยา (อย.) เพื่อขอทดสอบในมนุษย์ โดยจะร่วมกับราชวิทยาลัย- จุฬาภรณ์ ซ่ึงจะทดสอบกับเช้ือเดลตาด้วยเช่นกัน หากได้ผลดีจะสามารถ ผลิตใช้ได้ประมาณกลางปี 2565 น้ี
วัคซีนโควิด-19 ชนิดพ่นจมูก เป็นวัคซีนที่พ่นละอองฝอยใน โพรงจมูกผ่านเข็มฉีดพ่นยาชนิดพิเศษท่ีได้รับการออกแบบมาเพื่อส่งวัคซีน
ข้อมูลเพิ่มเติม
วัคซีนแบบ “พ่นจมูก”
ไปเสรมิ สรา้ งภมู คิ มุ้ กนั ในเยอื่ เมอื กของระบบทางเดนิ หายใจสว่ นบนโดยตรง ซึ่งไวรัสส่วนใหญ่รวมถึงไวรัสโคโรนาอันเป็นสาเหตุของโควิด-19 มักจะ เข้าสู่ร่างกายผ่านทางจมูกและก่อตัวขึ้นในโพรงจมูกก่อนท่ีจะแพร่กระจาย ไปยังส่วนอื่นๆ ของร่างกายรวมถึงปอด จากการทดสอบพบว่าแอนติบอดี ในเย่ือเมือกระบบทางเดินหายใจส่วนบน จะสร้างภูมิคุ้มกันได้เร็วและ ดีกว่าวัคซีนแบบฉีดเข้ากล้ามเนื้อ รวมถึงสามารถกระตุ้นการผลิต อิมมูโนโกลบูลินเอ (Ig A) ท่ีจาเพาะต่อแอนติเจน และเม็ดเลือดขาวชนิด T Cell ในทางเดินหายใจช่วยกระตุ้นภูมิคุ้มกันแบบฆ่าเชื้อ ซ่ึงสามารถ สกัดกั้นไวรัสและสร้างภูมิคุ้มกันเพื่อต่อสู้กับไวรัสป้องกันการติดเช้ือ ในระบบต่างๆ ของร่างกายและลดโอกาสที่ผู้คนจะแพร่เช้ือไวรัสต่อได้ นอกจากน้ียังช่วยลดความเส่ียงของการเกิดผลข้างเคียงจากภาวะล่ิมเลือด อุดตันได้ จึงถูกมองว่าเป็นวิธีแก้ปัญหาที่มีประสิทธิภาพเช่นเดียวกัน จากความเชี่ยวชาญของทีมวิจัยไบโอเทค สวทช. สามารถอัพเดทวัคซีน ให้ตอบสนองต่อการกลายพันธุ์ของไวรัสสายพันธุ์ใหม่ท่ีจะอุบัติข้ึนได้ไว ภายใน 2-3 สัปดาห์ เพียงเท่าน้ัน
ทีมวิจัย สวทช. ได้ประยุกต์ใช้พัฒนาเป็นต้นแบบวัคซีนป้องกันโรคโควิด-19 ซึ่งได้มุ่งเน้นพัฒนา ต้นแบ1บวัคซีน 3 ประเภท คือ
วัคซีนประเภท Virus-Like Particle (VLP) หรือ
วัคซีนอนุภาคไวรัสเสมือน เป็นเทคโนโลยีการสร้างโครงสร้างเลียนแบบอนุภาคไวรัส แต่ไม่มีสารพันธุกรรมของไวรัสบรรจุในโครงสร้างดังกล่าว ด้วยเหตุผลดังกล่าววัคซีนรูปแบบน้ี จึงปลอ2ดภัย และสามารถกระตุ้นให้ร่างกายสร้างแอนติบอดีต่อโปรตีนสไปค์จากผิวของวัคซีนได้ด้วย
วคั ซนี ประเภทInfluenza-Basedคอื การปรบั ไวรสั ไขห้ วดั ใหญใ่หส้ ามารถแสดงออก
วัคซีนประเภท Adenovirus Vector-Based คือ การปรับพันธุกรรมไวรัส
สามาร3
โปรตีนสไปค์ของไวรัส SAR-CoV-2 หลังจากนาส่งเข้าสู่ร่างกาย วิธีน้ีจะทาให้ร่างกาย ถสร้างภูมิคุ้มกันต่อทั้งไวรัสไข้หวัดใหญ่ และ SARS-CoV-2 ได้ในเวลาเดียวกัน
Adenovirus Serotype 5 ให้อ่อนเชื้อและสามารถติดเชื้อได้คร้ังเดียว และเพ่ิมยีน ที่กาหนดการสร้างโปรตีนสไปค์ลงไปในสารพันธุกรรมของไวรัส เม่ือนาไวรัสชนิดนี้ฉีดเข้าสู่ร่างกาย จะมีการสร้างโปรตีนสไปค์เพื่อกระตุ้นภูมิคุ้มกัน
14 News Wave August 2021


















































































   12   13   14   15   16