Page 17 - News Wave Journal - October 2021
P. 17

พืชกระท่อม “เคี้ยว-ต้ม” อย่างไรให้ปลอดภัย
รศ.ดร.อรุณพร อิฐรัตน์
  ไทยเตรียมนาเข้ายา “โมลนูพิราเวียร์” รักษาโควิด
        เตือนภัยอันตราย จากการบริโภค “ใบกระท่อม” เกินขนาด
เฟซบุ๊กเพจด้านสาธารณสุข The Coverage เผยแพร่ข้อมูลจาก รศ.ดร.อรณุ พร อฐิ รตั น์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์ (มธ.) เจ้าของรางวัล “เสม อวอร์ด 2562” ประเภทการวิจัยและส่งเสริมการใช้ สมุนไพรในชุมชน มูลนิธิหมอเสม พริ้งพวงแก้ว ท่ีได้อธิบายถึงการบริโภค พืชกระท่อมอย่างถูกวิธี และไม่เกิดอันตราย
รศ.ดร.อรณุ พร ฯ กลา่ ววา่ ความจรงิ แลว้ กระทอ่ มเปน็ ยาไมใ่ ชอ่ าหาร เพราะหากบริโภคเกินขนาดก็จะมีผลข้างเคียงและทาให้ติดได้ เน่ืองจาก ในกระท่อมมี สารไมทราไจนีน (Mitragynine) เป็นสารจาพวกอัลคาลอยด์ ออกฤทธิ์กดประสาทส่วนกลาง มีโทษต่อร่างกายที่ทาให้เกิดอาการหลอน เคลิ้มฝัน มึนงง เหงื่อออก ทนต่อความหนาวไม่ได้ และนอนไม่หลับ หรือ ถ้าหลับก็จะฝันแบบที่ไม่ควรฝัน
สาหรับวิธีการรับประทานกระท่อมที่ถูกต้องไม่ควรรับประทาน เกินวันละ 5 ใบ รูดก้านใบออกเพื่อเอาแต่ใบล้วนๆ แล้วเคี้ยวเหมือน การเคยี้ วหมาก เพราะนา้ ลายมคี วามเปน็ ดา่ งไปสกดั เอาสารไมทราไจนนี
โมลนูพิราเวียร์ (Molnupiravir) เป็นยาตัวแรกที่จะใช้ รักษาเฉพาะโรคโควิด-19 ท่ีคิดค้นพัฒนาและผลิตโดย บริษัท MSD บริษัทผู้ผลิตวางแผนจะข้ึนทะเบียนกับองค์การอาหารและยา สหรัฐอเมริกาในเดือนตุลาคม 2564 ส่วนประเทศไทยคาดว่าจะมีการ ขน้ึ ทะเบยี นกบั สา นกั งานคณะกรรมการอาหารและยา (อย.) ภายในเดอื น พฤศจิกายน 2564 ส่วนยารักษาโควิดอีกชนิดที่กาลังอยู่ในขั้นตอน ของการวิจัยระยะที่ 3 คือ ยาโปรตีเอส อินฮิบิเตอร์ (Protease Inhibitor) ของบริษัทไฟเซอร์ และยาที่มีลักษณะคล้ายคลึงกันของ บริษัท โรช (Roche) สวิตเซอร์แลนด์
ยาโมลนูพิราเวียร์ (Molnupiravir) เป็นยาเม็ดชนิดรับประทาน ออกฤทธ์ิต้านไวรัส พัฒนาขึ้นเพื่อใช้รักษาโรคไข้หวัดใหญ่ โดยเกิดจาก ความร่วมมือในการพัฒนาของ บริษัท ริดจ์แบ็ค ไบโอเทอราพิวทิค (Ridgeback Biothera peuthics) ประเทศสหรัฐอเมริกา และ
ออกมา และเวลารับประทานไม่ควรกลืนกาก เนื่องจากร่างกายของคนเรา ไม่สามารถย่อยก้านและใบกระท่อมได้ อาจทาให้มีกากหรือเศษกระท่อม ตกค้างอยู่ในลาไส้ จนเกิดพังผืดหุ้มรอบเศษกระท่อมนั้น ก้อนพังผืดในลาไส้นี้ เรียกว่า “ถุงท่อม” ซึ่งจะทาให้เกิดอาการปวดท้องได้
สาหรับการต้มเพื่อทาน้ากระท่อมก็ไม่ควรใช้เกิน 5 ใบต่อวัน และการต้มนั้นควรบีบมะนาวลงไปด้วย เพราะกรดของมะนาวจะช่วย เปลี่ยนสารไมทราไจนีนในกระท่อมที่มีความเป็นด่างให้อยู่ในรูปของเกลือ ที่สามารถละลายน้าได้ แล้วจึงกรองเอากากออกก่อนด่ืม หรือต้มพร้อมกับ “ใบชุมเห็ดเทศ” เพ่ือลดอาการท้องผูกที่เกิดจากผลข้างเคียงของการใช้ พืชกระท่อม
สดุ ทา้ ย รศ.ดร.อรณุ พร กลา่ วเสรมิ วา่ การใชส้ มนุ ไพรมที ง้ั ขอ้ ดแี ละ ข้อเสีย เป็นดาบ 2 คม ถ้าคนเข้าใจนาไปใช้อย่างถูกต้องก็จะเป็นประโยชน์ และมีคุณอนันต์ ฉะน้ันจาเป็นต้องเร่งทาการวิจัยแบบปูพรม เพ่ือให้มี การพฒั นายาจากสารสกดั กระทอ่ มใหใ้ ชเ้ ปน็ รปู ของยาแผนปจั จบุ นั ทดแทน ยาแก้ปวด ยาเบาหวาน และยาอ่ืนๆ ที่มีการวิจัย หรืออาจใช้ในรูปแบบ ของยาแผนไทยทมี่ ยี าแกพ้ ษิ ทเี่ กดิ จากกระทอ่ มโดยตรง และไมค่ อ่ ยเหน็ ดว้ ย ในการนามาทาเป็นอาหารเพื่อรับประทานกันจานวนมาก เพราะถ้าเกิด ผลเสียต่อร่างกาย พืชกระท่อมก็จะถูกควบคุมและห้ามใช้อีกครั้ง
   บริษัท เมอร์ค (Merck) ประเทศเยอรมนี มีฤทธ์ิ ต่อต้านไวรัสโคโรนาหลายชนิด เช่น ซาร์ส (Severe Acute Respiratory Syndrome หรือ SARS) โรคเมอร์ส (Middle East Respiratory Syndrome หรือ MERS) และโควิด-19
“โมลนูพิราเวียร์” ยารักษาโควิด ตัวแรกของโลก เข้าไทย ธันวาคมน้ี
โมลนูพิราเวียร์จะถูกนาเข้ามาแทนที่ยาฟาวิพิราเวียร์ ซึ่งเดิม มกี ารใชเ้ พอื่ ยบั ยงั้ ไวรสั เขา้ สเู่ ซลล์ แตโ่ มลนพู ริ าเวยี ร์ จะใชเ้ จาะจงเฉพาะ กับไวรัสโควิด-19 โดยผู้ป่วย 1 คน จะต้องกินยาน้ีวันละ 2 ครั้ง ครั้งละ 4 เม็ด จานวน 5 วัน หรือประมาณ 40 เม็ดต่อการรักษา 1 ครั้ง ผลจากการวิจัยพบว่า การให้ยาเม็ดนี้แก่ผู้ป่วยโรคโควิด-19 วันละ 2 ครั้ง ช่วยลดความเสี่ยงที่จะต้องเข้ารักษาตัวในโรงพยาบาลหรือ การเสียชีวิตลงได้ถึง 50%
 October 2021 NEWS WAVE
17


















































































   15   16   17   18   19