Page 18 - News Wave Journal - September 2021
P. 18

         เนื้อหาในมาตรฐาน ISO 26000
ประกอบด้วย 7 เรื่องหลัก (Core Subjects) ได้แก่
 การกากับดูแลองค์กร สิทธิมนุษยชน การปฏิบัติด้านแรงงาน
สิ่งแวดล้อม
ประเด็นด้านผู้บริโภค การมีส่วนร่วมและพัฒนาชุมชน การปฏิบัติดาเนินงานอย่างเป็นธรรม
    กองกํากับดูแลองค์กร (กกอ.) สบภ.
ISO 26000 เป็นมาตรฐานระหว่างประเทศที่กาหนดโดย องค์การระหว่างประเทศว่าด้วยมาตรฐาน (International Organization for Standardization: ISO) เพื่อให้คาแนะนาเกี่ยวกับความรับผิดชอบ ต่อสังคม (Social Responsibility) แก่องค์กรทุกประเภททั้งในประเทศที่พัฒนาแล้วและ ในประเทศกาลังพัฒนา ในการสนองตอบความต้องการของสังคมที่ให้ความสาคัญเพิ่มขึ้น กับการประกอบการอย่างรับผิดชอบต่อสังคม ซึ่งประกอบด้วยข้อแนะนาที่ให้หน่วยงาน นาไปปฏิบัติโดยสมัครใจมิใช่ข้อกาหนด (Requirements) ดังเช่นที่ปรากฏในมาตรฐาน
       การรับรอง อาทิ ISO 9001 หรือ ISO 14001 ด้วยเหตุนี้ ISO 26000 จึงมิใช่มาตรฐานสาหรับนาไปใช้หรือนามาพัฒนาเป็นข้อกาหนดอ้างอิง เพอื่ การรบั รอง(Certification)โดยมจี ดุ ประสงคท์ ตี่ อ้ งการเกอื้ หนนุ องคก์ ร เข้ามีส่วนร่วมสู่การพัฒนาที่ยั่งยืน มีเจตนาที่จะส่งเสริมให้องค์กรดาเนิน ความรบั ผดิ ชอบตอ่ สงั คมมากกวา่ ขอ้ กา หนดทางกฎหมาย ดว้ ยตระหนกั วา่ การปฏิบัติตามกฎหมายถือเป็นหน้าที่ขั้นพ้ืนฐานของกิจการ และเป็นส่วน ที่จาเป็นของความรับผิดชอบต่อสังคมอยู่แล้ว
ทําไมต้อง
 นอกจากน้ียังมีความต้องการท่ีจะส่งเสริมให้เกิดความเข้าใจเดียวกัน ในเรอื่ งความรบั ผดิ ชอบตอ่ สงั คม และใชเ้ ปน็ สว่ นเตมิ เตม็ มใิ ชเ่ พอื่ นา ไปใช้ ทดแทนเคร่ืองมือและความริเร่ิมอื่นๆ ในด้านความรับผิดชอบต่อสังคม
ISO 26000
   ทําไมจึงต้องสนใจ ISO 26000
เร่ืองความรับผิดชอบต่อสังคม เป็นสิ่งที่องค์กรทั่วโลก รวมถึง ผู้มีส่วนได้เสียขององค์กรเหล่านั้น รับรู้ว่ามีความจาเป็นและมีประโยชน์ จากการท่ีส่งผลต่อการพัฒนาที่ย่ังยืน
ผลกระทบจากการดา เนนิ งานขององคก์ รทมี่ ตี อ่ ชมุ ชนและสงิ่ แวดลอ้ ม ที่อยู่รายรอบ ได้กลายเป็นตัวแปรสาคัญที่บ่งชี้ถึงสมรรถนะและ ขีดความสามารถท่ีองค์กรจะดาเนินงานได้ต่อเน่ืองอย่างมีประสิทธิผล ความตระหนักท่ีเพิ่มขึ้นเหล่านี้ สะท้อนถึงความจาเป็นท่ีจะต้องธารงไว้ ซ่ึงสุขภาวะของระบบนิเวศ ความเสมอภาคทางสังคม และการกากับดูแล องคก์ รทดี่ ซี ง่ึ จากนไี้ ปทกุ ๆ กจิ กรรมขององคก์ รจา ตอ้ งคา นงึ ถงึ สงิ่ เหลา่ นไี้ ป พร้อมๆ กับการถูกตรวจสอบอย่างใกล้ชิดจากผู้มีส่วนได้เสียกลุ่มต่างๆ
ISO 26000 ได้ประมวลข้อแนะนาเก่ียวกับความรับผิดชอบต่อสังคม ที่มาจากคณะทางาน ซ่ึงประกอบด้วยตัวแทนผู้มีส่วนได้เสียจากภาคีต่างๆ มากท่ีสุดและกว้างขวางที่สุดเท่าท่ีเคยมีมา (จาก 99 ประเทศสมาชิกและ 42องคก์ รรว่ มทา งาน)พฒั นาเปน็ นยิ ามประเดน็ และแนวปฏบิ ตั ทิ ด่ี สี า หรบั องค์กรในการใช้เป็นเครื่องมือสนับสนุนการขับเคลื่อนความรับผิดชอบ ต่อสังคมจากเจตนาที่ดี (good intentions) ไปสู่การกระทาท่ีดี (good actions)
18 News Wave September 2021
จะได้ประโยชน์อะไร จํากกํารนํา ISO 26000 ไปใช้
การนา ISO 26000 ไปใช้จะช่วยสร้างทั้งการรับรู้และสมรรถนะ การดาเนินความรับผิดชอบต่อสังคมขององค์กร รวมทั้งการเสริมสร้าง
ความได้เปรียบทางการแข่งขัน
ช่ือเสียง
ความสามารถในการดึงดูดและเหนี่ยวรั้งแรงงาน/ สมาชิก ลูกค้า/ ผู้ใช้ให้คงอยู่กับองค์กร
ก า ร ธ า ร ง ร กั ษ า ข ว ญั ก า ล งั ใ จ ข อ้ ผ กู พ นั แ ล ะ ผ ล ติ ภ า พ ข อ ง พ น กั ง า น ทัศนะของผู้ลงทุน เจ้าของ ผู้บริจาค ผู้อุปถัมภ์และแวดวงการเงิน ความสัมพันธ์กับบริษัท ภาครัฐ สื่อ ผู้ส่งมอบ ผู้ร่วมงาน ลูกค้า และชุมชนที่สถานประกอบการตั้งอยู่
จะมีวิธีกํารนํา ISO 26000 ไปใช้ได้อย่ํางไร
องค์กรควรเริ่มจากการพิจารณาคุณลักษณะของความรับผิดชอบ ต่อสังคมและความสัมพันธ์กับการพัฒนาที่ยั่งยืน ทบทวนหลักการ ความรบั ผดิ ชอบตอ่ สงั คมสา หรบั นา ไปดา เนนิ การควบคกู่ บั หลกั การเฉพาะ ในแตล่ ะเรอื่ ง หลกั ในการวเิ คราะหเ์ รอื่ งหลกั และประเดน็ ความรบั ผดิ ชอบตอ่ สงั คมรวมถงึ การดา เนนิ การทเี่ กยี่ วขอ้ งและการตอบสนองความคาดหวงั นนั้ องค์กรควรพิจารณาศึกษาวิธีการดาเนินความรับผิดชอบต่อสังคม ขั้นพื้นฐาน 2 เรื่อง คือ การยอมรับในบทบาทความรับผิดชอบต่อสังคม ภายใตเ้ขตอทิธพิลขององคก์รการระบแุละการรว่มดาเนนิงานกบัผมู้สีว่น- ได้เสียของกิจการเมื่อองค์กรเข้าใจในหลักการ สามารถระบุเรื่องหลักและ ประเด็นความรับผิดชอบต่อสังคมที่มีนัยสาคัญและเกี่ยวเนื่องได้แล้ว องค์กรควรค้นหาวิธีในการผนวกหรือบูรณาการความรับผิดชอบต่อสังคม เข้าในกระบวนการตัดสินใจและกิจกรรมทั่วทั้งองค์กรในการประยุกต์ใช้ มาตรฐาน ISO 26000 องค์กรควรคานึงถึงความหลากหลายท่ีมีผลมาจาก โครงสร้างองค์กร ประเด็นทางสังคมสิ่งแวดล้อม วัฒนธรรม การเมือง และ กฎหมาย รวมท้ังความแตกต่างของเงื่อนไขทางเศรษฐกิจ ควบคู่กับ ความสอดคล้องกับหลักปฏิบัติท่ีเป็นบรรทัดฐานสากล
โปรดระลึกว่า การเข้าสู่วิถีความรับผิดชอบต่อสังคมและการดาเนิน ความรับผิดชอบต่อสังคมนั้น มีเป้าหมายยอดสุดอยู่ท่ีการสร้างผลได้สูงสุด ในความทุ่มเทขององค์กร อันนาไปสู่การพัฒนาที่ยั่งยืน
ที่มา: https://tma.or.th/2016/news_detail.php?id=201









































































   16   17   18   19   20