Page 18 - News Wave Journal - August 2021
P. 18

 กองกํากับดูแลองค์กร (กกอ.) สบภ.
“ของเสีย” ให้เป็น “ของดี”
แนวปฏบิ ตั ใิ นการดา เนนิ ธรุ กจิ ทมี่ สี ว่ นประสมของความรบั ผดิ ชอบ ต่อสังคม (CSR) ผนวกอยู่ นับวันจะเป็นเร่ืองท่ีหลีกเลี่ยงไม่ได้ สาหรับธุรกิจ ทแ่ี สวงหาความยงั่ ยนื และการยอมรบั จากผมู้ สี ว่ นไดเ้ สยี ทอี่ ยรู่ ายรอบกจิ การ
ในความเป็นจริง ทุกธุรกิจไม่ว่าจะอยู่ในอุตสาหกรรมใดหรือ ในสาขาใด ต่างก็มีส่วนในการรับผิดชอบต่อสังคมอยู่ในระดับหนึ่ง มิฉะน้ัน กิจการนั้นๆ ก็คงไม่สามารถอยู่รอดมาจนถึงทุกวันนี้ได้ เพราะสังคมหรือ ภาครฐั ทม่ี หี นา้ ทกี่ า กบั ดแู ล กค็ งไมป่ ลอ่ ยใหก้ จิ การดา เนนิ อยโู่ ดยปราศจาก การประณามหรือการลงโทษใดๆ แต่ประเด็นสาคัญท่ีจะพิจารณาอยู่ท่ี “ความรับผิดชอบต่อสังคมของกิจการท่ีผ่านมานั้นเพียงพอหรือยัง” ซ่ึงเป็นโจทย์ใหญ่ท่ีในวันน้ีสังคมเริ่มต้ังคาถามดังขึ้นเรื่อยๆ หรือแม้แต่ ธุรกิจเองก็พยายามสารวจตัวเองต่อประเด็นคาถามนี้อย่างจริงจังเช่นกัน
การจัดการผลกระทบเชิงลบที่มีต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม จากการดาเนินงานของธุรกิจ เป็นหน่ึงในหัวเร่ืองสาคัญของการทา CSR แต่ความเป็นจริงอีกนัยหนึ่ง คือ การท่ีธุรกิจจะต้องลดผลกระทบเชิงลบ ให้เหลือศูนย์ หรือไม่ให้มีเลยนั้น เป็นไปไม่ได้
ในวิชาเศรษฐศาสตร์เอง ก็กล่าวไว้ทานองเดียวกันว่า ในทุก กระบวนการผลิต ก็คือ การทาลายรูปแบบหนึ่ง เป็นการแปรสภาพ จากสิ่งหน่ึงไปสู่อีกส่ิงหน่ึง ซ่ึงหากส่ิงท่ีแปรสภาพใช้การได้ เราก็เรียกว่า ผลิตภัณฑ์ (ซึ่งรวมทั้งสินค้าและบริการ) แต่หากส่ิงที่แปรสภาพมาใช้การ ไม่ได้ เราก็เรียกว่า ของเสีย และในความเป็นจริง จะไม่มีกระบวนการผลิตใด ที่จะไม่มีของเสียออกมาเลย
ขณะเดียวกัน ในฝั่งของปัจจัยนาเข้า สู่กระบวนการผลิต ธุรกิจก็ จาเป็นต้องใช้ทรัพยากรทางธรรมชาติเป็นปัจจัยในการผลิตไม่มากก็น้อย ฉะนน้ั ทกุ กจิ การไมว่ า่ จะขนาดเลก็ หรอื ขนาดใหญ่ ตา่ งกส็ รา้ งผลกระทบ
ต่อส่ิงแวดล้อมจากการดึงเอาทรัพยากรธรรมชาติท่ีมีวันหมดไปมาใช้ อย่างหลีกเล่ียงไม่ได้
@ PORT
18 News Wave August 2021
ยุคแห่งกํารแปลง
ไม่เพียงแค่ธุรกิจ แม้กระท่ังเราๆ ท่านๆ ที่น่ังอ่านบทความนี้อยู่ เราก็หายใจเอาอากาศดีจากธรรมชาติเข้าไปในร่างกาย แล้วปล่อยเอา อากาศเสีย คือ ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ออกสู่ภายนอก หนทางแก้ในกรณีนี้ จึงไม่ได้อยู่ท่ีการหายใจเข้าให้น้อยๆ เพื่อรักษาอากาศดีให้คงอยู่ไว้มากๆ หรือการหายใจออกให้น้อยๆ เพื่อไม่ไห้มีอากาศเสียมากกว่าท่ีเป็นอยู่
เป็นความจริงที่ว่า ธุรกิจยังต้องการการพัฒนาสมรรถภาพอีกมาก เราจึงได้มีเครื่องมือในการพัฒนาสมรรถนะทางธุรกิจท่ีเกี่ยวกับ เรื่องการบริหารการใช้ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพและการจัดการ ของเสีย อย่างเช่น Lean Manufacturing และ Six Sigma ซ่ึงจัดเป็น เครื่องมือในกลุ่มท่ีเรียกว่า Total Quality Management หรือ TQM
TQM เปรียบเสมือนเคร่ืองมือยุคแรกในการดาเนินธุรกิจอย่างมี ความรับผิดชอบต่อสังคมตรงที่มุ่งจัดการกับของเสียให้ลดลง ทาให้องค์กร ปราศจากไขมันส่วนเกินจากการใช้ทรัพยากรนาเข้าท่ีด้อยประสิทธิภาพ อันเป็นบ่อเกิดของการสูญเปล่า 7 ประการ ได้แก่ การผลิตเกิน (Over Production) การขนส่ง (Transportation) การรอคอย (Waiting) สินค้าคงคลัง (Inventory) การชารุด (Defect) กระบวนการมากเกินไป (Over Processing) และการเคลื่อนย้ายท่ีไม่จาเป็น (Unnecessary Movement) โดยทกี่ ารพฒั นาเพอื่ ลดการสญู เปลา่ นี้ นา ไปสกู่ ารเปน็ องคก์ ร กระชับรูป หรือ Lean Enterprise
เรากา ลงั กา้ วไปอกี ขนั้ จากการพฒั นาเพอื่ ลดของเสยี มาสกู่ ารพฒั นา ที่ไร้ของเสีย (Zero Waste) ท่ีไม่ได้หมายถึงการลดของเสียให้เหลือศูนย์ แต่เป็นการออกแบบระบบการผลิตที่สามารถนาของเสียจากกระบวนการ ผลิตหนึ่ง มาเป็นทรัพยากรนาเข้าของอีกกระบวนการผลิตหน่ึง เช่น การนาขยะมาผลิตเป็นพลังงาน และเป็นยุคของการพัฒนาระบบการผลิต ที่สามารถใช้ทรัพยากรหมุนเวียน ทดแทนการใช้ทรัพยากรธรรมชาติ ท่ีมีวันหมดไป เช่น การผลิตท่ีอาศัยเชื้อเพลิงจากพลังงานลมและพลังงาน แสงอาทิตย์ เป็นต้น
ในปัจจุบัน ธุรกิจหลายแห่งจึงมีความริเริ่มบนฐานคิดน้ี เกิดเป็น คาเรยีกใหมๆ่ทแี่สดงใหเ้หน็ถงึคณุลกัษณะของการพฒันาทไี่รข้องเสยีและ การพัฒนาท่ีเน้นการใช้ทรัพยากรหมุนเวียน อาทิ เศรษฐกิจชีวภาพ (Bio Economy) เศรษฐกิจหมุนเวียน (Circular Economy) เศรษฐกิจ สีเขียว (Green Economy) น่ันเอง
ที่มา: https://www.smartsme.co.th/content/226419


















































































   16   17   18   19   20